วันเสาร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2557

1. เมื่อสารละลายแนฟทาลนี (C10H8) 6.64 กรัม ในเบนซีน (C6H6) 80.1 กรัม จะได้สารละลายที่
มีความเข้มข้นร้อยละเท่าใดโดยมวล

ร้อยละโดยมวลของ C10H8 = มวลของตวถั ูกละลาย X 100%
 มวลของสารละลาย
 ( ) 80.1 6.44 g
6.44 g 100%
+
× = = 7.44 %

2. สารละลายชนิดหนึ่งเตรียมได้โดยผสมเมทานอล (CH3OH) 76.3 กรัม กบั โพรพานอล
(อ่านต่อ)

สมบัติบางประการของสารละลาย

                                       สมบัติบางประการของสารละลาย

สมบัติเกี่ยวกับจุดเยือกแข็งจุดเดือดของสารละลาย
        

สารละลายที่มีตัวทำละลายเป็นสารระเหยยากและไม่แตกตัวเป็นไอออน  จะมีสมบัติที่เรียกว่า
คอลลิเกทีฟ (colligative)  เป็นสมบัติที่เกี่ยวกับจุดเดือด (boiling  point)  และจุดหลอมเหลว (boiling  point)
คือ จุดเดือดของสารละลายจะสูงกว่าจุดเดือดของตัวทำละลายบริสุทธิ์  จุดหลอมเหลวของสารละลายจะลดต่ำกว่า
จุดหลอมเหลวของตัวทำละลายบริสุทธิ์

การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย

การเตรียมสารละลาย
    ในการเตรียมสารละลายต่าง ๆ ที่มีความเข้มข้นตามที่ต้องการสามารถทำได้หลายวิธี เช่น
1. การเตรียมสารละลายจากสารบริสุทธิ์
2. การเตรียมสารละลายจากสารละลายเข้มข้น
1. การเตรียมสารละลายจากสารบริสุทธิ์ ทำได้โดยละลายสารบริสุทธิ์ตามปริมาณที่ต้องการในตัวทำละลายปริมาณเล็กน้อย แล้วปรับ ปริมาตรของสารละลายให้ได้ตามที่ต้องการเตรียม ถ้าต้องการเตรียมเป็นหน่วยโมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร มีลำดับขั้นในการเตรียมดังนี้
ขั้นที่ .(อ่านต่อ)

ความเข้มข้นของสารละลาย

ความเข้มข้นของสารละลาย    เป็นค่าที่บอกให้ทราบถึงปริมาณตัวละลายที่มีในสารละลาย  ว่ามีจำนวนมากน้อยเพียงใด 
       สารละลายเข้มข้น   คือ  สารละลายที่มีปริมาณตัวละลายมาก
       สารละลายเจือจาง  คือ  สารละลายที่มีปริมาณตัวละลายน้อย
       สารละลายอิ่มตัว     คือ  สารละลายที่ไม่สามารถละลายตัวละลายได้อีกต่อไป   ณ อุณหภูมิขณะนั้น ซึ่งถ้าใส่ตัวละลายเพิ่มลงไปอีก จะเหลือตะกอนอยู่ที่ก้นภาชนะ

การบอกความเข้มข้นของสารละลายแสดงด้วยหน่วยร้อยละ ดังนี้

(อ่านต่อ)